วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 6
วันศุกร์ ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559





เนื้อหาที่เรียน


การจัดประสบการณ์ การเรียนการสอนโดยการแก้ปัญหา โดยการตั้งปัญหาให้เด็กได้ลงมือและแก้

ปัญหาเอง โดยมีโครงสร้างดังนี้ ---->

การวิเคราะห์โจทย์  แนวคิด

ศึกษาวัสดุที่มีอยู่

ลงมือทำ

ผลงาน

การประเมินผล

อุปกรณ์

ทักษะ รมดมความคิด 
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ฐานการสอน ปละเป็นการสอนแบบบูรณาการได้ลองผิดลองถูก ได้ใช้ความคิดเกี่ยวกับศิลปะ 

และจากนั้นเพื่อนๆก็นำเสนอ บทความ วิจัย สื่อการสอนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

การประยุกต์ใช้ 
วิธีการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กนั้นเราต้องดึงสิ่งที่เด็กมีออกมา แล้วนำมาจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของเด็กให้เด็ก 

บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย

บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย

วิเคราะห์ตนเอง
จดบันทึกและเข้าใจมากยิ่งขึ้น 


บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559


เนื้อหาที่เรียน

วันนี้เรียนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เรื่องรูปทรง การจัดประสบการณ์ต้องให้เด้กได้ลงมือทำผ่าน

ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ต้องให้เด็กลองทำก่อนแล้วค่อยให้ลงกระดาษ 

การจัดประสบการณ์เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเด็ก ถ้าเป็นเด็กมีความพร้อมก็จะเห็นว่ารูปทรงที่เห็นนั้นเป็นรูปทรงเดียวกัน เป็นการเรียนการสอนแบบสืบเสาะ

การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแแปลงพฤติกรรม
พัฒนาการ หมายถึง ความสามารถของเด็กที่บ่งบอกว่าเด็กจะทำอะไรได้บ้างในระดับอายุ 
พัฒนาการ หมายถึง ความสามารถของเด็กที่บ่งบอกว่าเด็กจะทำอะไรได้บ้างในระดับอายุ 

  • การสอนแบบ Project Approach
สามารถทรอดแทรกทักษะการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น
ขั้นตอนในการสอน เป็นการเรียนรู้ ก่อน หลัง
การอธิบาย เป็นการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในสาระที่ 5 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
การจัดการแสดง เด็กได้คณิตศาสตร์ในการจัดหมวดหมู่ของการนำเสนอ จัดพื้นที่ต่างๆและจัดกลุ่มคน
การทำมายแมพและผลงานสามารถทรอดแทรกคณิตศาสตร์ให้เด็กได้ เช่น การวาดรูปทรง แบ่งกลุ่ม การทำวงกลมเปรียบเทียบความเหมือน-ต่าง

ทักษะ ระดมความคิด 

ทักษะการตอบคำถาม
ทักษะการนับจำนวน
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะเรื่องรูปทรง 
ทักษะการแก้ปัญหา

การประยุกต์ใช้ 
จัดประสบการ์ให้แก่เด็กได้โดยต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย ให้เด็กได้ลงมือทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องชีวิตประจำวัน 


บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะ เก้าอี้สะอาดเรียบร้อย อากาศกำลังดีเลย

การจัดการเรียนการสอน
อาจารย์ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ และเน้นสิ่งสำคัญที่เราต้องคำนึงในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
วิเคราะห์ตนเอง
ตอบคำถามมากขึ้น จดบันทึกเนื้อหา 





บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 4
วันศุกร์ ที่ กุมภาพันธ์ 2559


เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ได้เอาตัวอย่างปฏิทินมาให้ดู และอาจารย์ก็สอนว่าเด็กจะเกิดทักษะจากทางด้าน ตัวเลขฮินดูอารบิก การนับ สี จำนวน เป็นต้น  และวิธีการเรียนรู้ของเด็กคือการได้ลงมือทำจริง นั้นก็ได้นำเสนอของเล่นที่แต่ละกลุ่มเตรียมมาค่ะ

ทักษะ/ระดมความคิด
     ปฏิทินจะช่วยส่เสริมจำนวน การนับ สี เป็นต้น และการนำเสนอของเล่นและได้ฟังสุดบกพร่องของตัวเองและนำไปแก้ไข
ประเมิน
บรรยากาศในห้องเรียน
อากาศไม่ร้อน อุปกรณ์พร้อม 
การจัดการเรียนการสอน
อาจารย์สอนสนุกดีและเข้าใจได้ง่าย อาจารย์สอนละเอียดและไม่ซับซ้อน

วิเคราะห์ตนเอง
เข้าใและสามารถตอบคำถามได้ บางครั้งอาจมึนๆแต่ก็บอกตัวเองและระดมความคิดด้วยตัวเอง 


เรียนชดเชย
วันพุธ  ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับเด็กมาเรียนก่อนเจ็ดโมง และหลังเจ็ดโมง และให้เด็กๆเอาป้ายชื่อ
มาติดว่าตื่นตอนเวลาก่อน หรือ หลัง เจ็ดโมง 

หลักๆคือเด็กก็จะได้เกี่ยวกับ การนับ จำนวน ตัวเลขฮินดูอารบิก การเปรียบเทียบ การแบ่ง
กลุ่ม การจำแนก เวลา
และการจัดกิจกรรมนั้นต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด้กและสิ่งที่เด็กจะได้ด้วย

ทักษะ-ระดมความคิด
-การคิดและการแก้ปัญหา
-การตอบปัญหา

การประยุกต์ใช้
การจัดการเรียนการสอน เรื่องเวลา เด็กจะได้เกิดความเข้าใจและเอาไปปรับใช้ในชีวิต
ประจำวันได้
บรรยากาศในการเรียน
บรรยากาศกำลังดี อุปกรณ์พร้อม เก้าอี้ก็พร้อม
การจัดการเรียนการสอน 
ทุกๆคนมีสวนร่วมในการเรียนและช่วยกันตอบปัญหาแก้ไขปัญหา
ประเมินตนเอง
จดบันทึกฟังเวลาสอน 

บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 3
วันศุกร์  ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2559






เนื้อหาที่เรียน

คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของเด็กปฐมวัย สอนให้เด็เข้าใจและเห็ภาพจิง เช่นการเช็คชื่อการมาเรียน 

                        
-เรื่องการนับบอกจำนวน
-เรื่องการเรียงลำดับ
-เลขฮินดูอารบิก
-เรื่องการเพิ่มและลด

สาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
1. จำนวน  การดำเนินการ
2. การวัด
3. เรขาคณิต
4. พืชคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูล  ความน่าจพเป็น
6.ทักษะ  กระบวนการทางคณิตศาสตร์

เพื่อนๆนำเสนองานบทความ วิจัย สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 3 คน


เพลงคณิตศาสตร์

เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า   อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว   หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ  ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นหล่า หลั่น ลันลา หลั่นลา หลั่นล้า

เพลงสวัสดีคุณครู
สวัสดีคุณครูที่รัก   หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียนๆ   หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย

เพลงหนึ่งปีมีสิบสิงเดือน
หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน   อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน  
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ 

เพลงเข้าแถว
เข้าแถว เข้าแถว   อย่าล้ำแนวยืนเรียงกัน
อย่ามัวแชเชือน   เดินตามเพื่อนให้ทัน 
ระวังเดินชนกัน   เข้าแถวพลันว่องไว

เพลงจัดแถว
สองมือเราชูตรง   แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายไปข้างหน้า  แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง

เพลง ซ้าย-ขวา
ยืนให้ตัวตรงก้มหัวลงตบมือแผละ
แขนซ้ายอยู่ไหนหันตัวไปทางนั้นแหละ

เพลงขวดห้าใบ
ขวด......ใบวางอยู่บนกำแพง (ซ้ำ)
เราเอาหินปาไปให้มันกลิ่งตกลงมา
คงเหลือขวด........ใบวางอยู่บนกำแพง



ทักษะ ระดมความคิด
-การทำกิจกรรมเขียนตารางสมาชิกห้องเพื่อนเสริมความรู้การเพิ่มลดของจำนวน
-การพูดหน้าชั้นเรียน

การประยุกต์ใช้ 
     -สามารถนำไปทรอดแทรกในชีวิตประจำวัน ให้เด็กได้เรียนรู้และเห็นภาพได้อย่างจิงและเด็กจะเข้าใจและเปรียบเทียบได้อย่าง่าย

บรรยากาศในห้องเรียน
     โต๊ะเก้าอี้เพียงพอ วัสดุพร้อมในการเรียนการสอน บรรยากาศน่าเรียน

การจัดการเรียนการสอน
     มีการเตรียมการสอนอย่างดีอธิบายได้อย่างเข้าใจและเห็นภาพตาม

วิเคราะห์ตนเอง
    ตั้งใจเรียนและสนุกดี
บันทึกการเรียน 
ครั้งที่ 2
วันศุกร์  ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559

เนื้อหา
     
         อาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษา โดยส่งให้นักศึกษาคนแรกและการแจกกระดาษของนักศึกษาจะเป็นแบบหยิบอาจารย์สั่งหยุดการแจกกระดาษ เรียกคืนมาแล้วเริ่มแจกใหม่แบบ และเมื่อแจกเสร็จกะดาษน้อยกว่าคนอาจารย์เลยให้คิดและแก้ปัญหา
          การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งมีหัวข้อใหญ่ๆดังนี้

1.                        การจัดประสบการณ์

2.                        คณิตศาสตร์

3.                        เด็กปฐมวัย


         พัฒนาการ หมายถึง ความสามารถของเด็กที่บ่งบอกว่าเด็กจะทำอะไรได้บ้างในระดับอายุ ที่                  แสดงออกถึงพฤติกรรม เช่น ความต้องการ

ทักษะ/การระดมความคิด
          อาจารย์ตั้งคำถามว่าทำไมอาจารย์ถึงให้แจกกระดาษแบบ เพราะอะไรเราจึงต้องทำแบบนี้  เพื่อนๆต่างตอบคำถามแตกต่างตามความเข้าใจ
        นักศึกษาช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ และอาจารย์ได้อธิบายถึงการแจกกระดาษแบบ ว่าเพื่อให้เด็กทราบว่า กระดาษมากกว่าคน หรือคนมากกว่ากระดาษ และมีการแก้ปัญหาได้อย่างไร เมื่อกระดาษไม่พอต้องนับคนที่ยังไม่ได้กระดาษว่าขาดอีกกี่แผ่นและเราสามารถเอามาแก้และใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย

ประเมิน
บรรยากาศในห้องเรียน

         วัสดุอุปกรณ์พร้อมในการเรียนการสอน

       การประยุกต์ใช้ 
       สามารถนำเอาบทนำสู่บทเรียนไปสอนได้เพื่อรให้เด็กสนใจในเนื้อหาที่จะสอนได้ดี

วิเคราะห์ตนเอง
       ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายและจดบันทึกเมื่อมีข้อสงสัยก็จะซักถาม