วันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 14
วันศุกร์ที่ 29 เมษายน 2559
เวลา 08.30-12-30.


เนื้อหาที่เรียน


การเขียนแผนการจัดประสบการณ์เด็กปฐมวัย





ตัวอย่างการเขียนแผน
องค์ประกอบแผนการจัดประสบการณ์
 
วัตถุประสงค์คือ  สิ่งที่เราต้องการให้เด็กได้รับหลังจากที่ทำกิจกรรมจบไป
สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย สาระที่ควรเรียนรู้ กับ ประสบการ์สำคัญ
กิจกรรมการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
การวัดและการประเมินผล
การบรูณาการ

แนวคิดในการจัดประสบการณ์
เช่นหน่วย ผลไม้

แนวคิด
ผลไม้เป็นพืชยืนต้นและล้มลุกที่เป็นธรรมชาติรอบตัวมีความเหมือนและความแตกต่างกันทั้งรูปร่าง รูปทรง ขนาดรสชาติ กลิ่น สามารถนำไปถนอมอาหารได้และมีทั้งประโยชน์และโทษ

ประสบการณ์สำคัญ
สิ่งที่เด็กได้ลงมือทำ ประสบการณ์คือการเรียนรู้ และเรียนรู้ผ่านของจริง

คุณลักษณะตามวัย
สิ่งที่พัฒนาเด็กในแต่ละวัยและเด็กอายุเท่านี้สามาถทำอะไรได้บ้าง

ตัวอย่างการบรูณาการทางศิลปะ
การปั้น
การฉีกปะติด
การสาน
การเล่นสี
เป็นต้น

6 กิจกรรมหลักมีดังนั้น
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
กิจกรรมเสรี
กิจกรรมกลางแจ้ง
กิจกรรมเกมการศึกษา

ทักษะ/ระดมมความคิด
การเชื่อมโยงความรู้
การแก้ปัญหา
การคิดริเริ่มสร้างสรรค์
การวิเคราะห์

การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปเขียนแผนในการจัดการเรียนการสอนและบรูณาการเข้ากับวิชาที่สอดคล้องได้ง่ายและสอนให้เข้ากับชีวิตประจำวัน

การจัดการเรียนการสอน
มีความพร้อมในการเรียน และแาจารย์ก็เตรียมสื่อมาดีอธิบายเข้าใจง่ายและยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนดี อธิบายให้ฟังเป็นแต่ละกลุ่ม

วิเคราะห์ตนเอง
ชอบเวลาเรียนสนุกสนาน อาจารย์สอนเข้าใจง่ายและสนุกสนาน



บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
วันศุกร์ที่ 22 เมษายน 2559
เวลา 08.30-12-30.


เนื้อหาที่เรียน


เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน
ก็มีหลากหายเทคนิค เช่น
นิทาน
คำคล้องจอง
ภาพตัดต่อ
คำถาม
ปริศนาคำทาย
เพลง
เป็นต้น

 และนิทานก็เป็นอีกหนึ่งอย่างที่สามารถนำเข้าสู่บทเรียนได้ดีแต่ถ้าจะให้ดีต้องเอาไว้วันที่เรียนเกี่ยวกับประโยชน์เพราะเราจะได้เล่าและสอนเด็กไปบอกประโยชน์ไปแล้วยังบอกโทษหรือข้อควรระวังลงไปด้วยและสามารถเชื่อมโยงให้เข้ากับชีวิตประจำวันได้

บรูณาการางคณฺตศาสตร์
การวัด
ขนาด
รูปร่าง
รูปทรง
การนับ
การจัดหมวดหมู่


และสิ่งสำคัญในการจัดการเรียนการสอนนั้นคือครูเพราะครูคือหัวใจในการพัฒนา

ทักษะ/ระดมความคิด
การแก้ปัญหา
การทำงานร่วมกัน
การวิเคราะห์
การแต่งเรื่องราว


การประยุกต์ใช้ 
ในการทำงานการเขียนแผนหรือการเขียนนิทานเราต้องคำนึงและการเขียนนิทานให้สอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์เราต้องนึกและในเรื่องนั้นเด็กจะได้คณิตศาสตร์ในหน่วยใด

การจัดการเรียนการสอน
ชอบอาจารย์เพราะอาจารย์เป็นคนน่ารักสอนเก่ง และสอนดีและทำให้เราเข้าใจง่ายและลึก

วิเคราะห์ตนเอง
ตั้งใจเรียนและเวลาที่อาขารย์สอนชอบนึกและคิดตาม และสนุกสนานดี

วันจันทร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการสอนครั้งที่ 12
วันศุกร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ 2559 
เวลา 08.30-12.30 น.

เนื้อหาที่เรียน
การสอนประสบการณ์โดยบูรณาการเข้ากับคณิตศาสคร์

ตัวอย่างการสอนหน่วย ผลไม้
 กิจกรรมวันอังคาร เรียน ลักษณะของผลไม้

ขั้นนำ
ครูและนักเรียนท่องคำคล้องจอง

ขั้นสอน
ครูถามเด็กว่าเคยกินผลไม้ชนิดไหน
และพาเด็กนับผลไม และแยกผลไม้
ถามเกี่ยวกับลักษณะและรสชาติของผลไม้

ขั้นสรุป ครูพูดคุยกับเด็ก และบอกถึงประโยชน์ของผลไม้


เกิดทักษะคณิตศาสตร์ดังนี้
การคิดวิเคราะห์
การแก้ปัญหา
การวางแผน
การเชื่อมความรู้เก่ากับความรู้ใหม่

การประยุกต์ใช้
การนำไปสอนเด็กเกี่ยวกับลักษณะของผลไม้ เด็กจะได้เอาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

การจัดการเรียนการสอน
บรรยากาศในการเรียนการสอนดี มีระเบียบ

การวิเคราะห์ตนเอง
ตัั้งใจทำงานและช่วยเพื่อนนำเสนอ

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ 2559
เวลา 08.30-12.30 น.

เนื้อหาที่เรียน
 การสอนเสริมประสบการณ์โดยบูรณาการณ์เข้ากับวิชาคณิตศาสตร์

เช่นการสอนหน่วย ผลไม้

สอนแบบเรียนปนเล่น
วันจันทร์         ประเภทของผลไม้
วันอังคาร        ลักษณะของผลไม้
วันพุธ              การดูแลผลไม้
วันพฤหัสบดี   ประโยชน์ของผลไม้
วันศุกร์            ข้อควรระวัง


ทักษะระดมความคิด

การคิดวิเคราะห์
การแก้ปัญหา
การคิดสร้างสรรค์
การแสดงความคิดเห็น
การเชื่อความรู้เก่าความรู้ใหม่

การประยุกต์ใช้
สามารถเอาไปใช้สอนในอนาคตและปรับปรุงให้ดีกว่าเดิม

การจัดการเรียนการสอน
เนื่องจากตึกเก่าทุบเราต้องย้าย อุปกรณ์ในการเรียนยังไม่พร้อม

การวิเคราะห์ตนเอง
ทำงานยังไม่มาไม่ค่อยชัดเจน แต่เพื่อนๆก็ช่วยแก้ปัญหาได้ดี
บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ 2559
เวลา 08.30-12.30 น.
 
เนื้อหาที่เรียน
รวบรวมองค์ประกอบและแบ่งกลุ่มให้แบ่งกันวันจันทร์ถึงศุกร์ใครสอนวันไหนและมาประยุกต์ใช้กับวิชาคณิตศาสตร์

ตัวอย่างเช่น หน่วย ผลไม้
 แบ่งออกเป็น 
 ผลเดียว กับ ผลรวม

ลักษณะของผลไม้
รูปร่าง 
สี
รสชาติ

การดูแลรักษา
การแปรรูป 
การฉาบ 
การแช่อิ่ม 
การดอง

ประโยชน์
เก็บไว้ทานได้นาน

ข้อควรระวัง
ผลไม้ที่แช่อิ่ม กินเยอะจะไม่ดีเพราะจะไม่ดีต่อร่างกาย 

ทักษะรมดมความคิด
การคิดวิเคราะ
การคิดสร้างสรรค์

การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปสอนกับเด็กได้หลากหลายทำให้เด็กรู้เกี่ยวกับลักษณะของผลไม้รสชาติ เป็น 

การจัดการเรียนการสอน
ห้องเรียนยังไม่ค่อยพร้อมเรียน เพราะกำลังย้ายของจะทุบตึก 

วิเคราะห์ตนเอง
ตั้งใจเรียน และทำงาน 

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ 2559
เวลา 08.30-12.30 น.

เนื้อหาที่เรียน

ประดิษฐ์สื่อรูปทรงจากวัสดุเหลือใช้

วัสดุอุปกรณ์
-ลัง
-กาว
-คัดเตอร์
-ไม้บรรทัด

วีธีการทำ

นำกระดาษมาตัด แล้วมาตัดเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า และวัดขนาด2เซนติเมตร



และนำกระดาษที่ตัดออกไป มาตัดเป็นรูปทรงต่างๆ 


จากนั้นนำกระดาษมาปิดด้านหลังเพื่อไม่ให้หล่น และตกแต่งให้สวยงาก็ใช้งานได้แล้ว


ทักษะระดมความคิด
-การแก้ปัญหา
-แการวางแผน
-การทำงานร่วมกับผู้อื่น
-การวัด
-การเปรียบเทียบ

การประยุกต์ใช้
-เราสามารถเอาวัสดุเหลือใช้มาทำได้หลากหลายและยังสอนเด็กได้ในหลายๆเรื่องด้วย

บรรยากาศห้องเรียน
-ห้องสะอาด เรียบร้อย อากาศน่าเรียน

การจัดการเรียนการสอน
-ออาจารย์อธิบายและบอกวิธีการทำ

วิเคาระห์ตัวเอง
-ตั้งใจช่วยเพื่อนทำงาน






บันทึกการเรียนครั้งที่ 8
วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ 2559
เวลา 8.30-12.30 น.

เนื้อหาที่เรียน
การประดิษฐ์สื่อการสอนเกมการศึกษาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
 สามารถนำเอามาสอนมาเล่นเกมการศึกษาเช่น
-บิงโก
-จับคู่ภาพเหมือน
-หมากฮอต
-การจัดหมวดหมู่
-เป็นต้น

อุปกรณ์ในการทำง

-กล่องลังที่ไม่ใช้แล้ว
-กระดาษ
-เทปกาว
-สติกเกอร์ใส
-ดินสอ ไม้บรรทัด คัดเตอร์ กาว

ขั้นตอนการทำ


นำกระดาษมาตัดให้เท่ากันแล้วตีตางรางให้เท่ากัน


ตัดแบ่งครึ่งให้มีขนาดเท่ากัน

นำเทปกาวมาติดรอยต่อที่ตัดเพื่อให้สามารถพับได้


วัดกระดาษขาวให้เท่ากับลังที่ตัดเพื่อจะเอาไปติดทับ


ติดกระดาษให้มีขนาดเท่ากัน ทั้งสองข้าง




จากนั้นติดเทปดำเพื่อนให้เห็นตาราง พร้อมเคลือบด้วยสติกเกอร์ใส
เป็นอันเสร็จ

ลำดับการเรียนรู้ของเด็ก
ประสบการณ์จิง----- ภาพ -----สัญลักษณ์

ทักษะระดมความคิด
-การสร้างสรรค์
-การวางแผน
-การคาดคะเน
-การทำงานร่วมกัน

การประยุกต์ใช้
-สามารถนำเอาไปใช้สอนได้หลากหลาย ใช้ในเกมการศึกษาก็ได้ การจับคู่ภาพการเติมหรือแม้กระทั้งการนับ
บรรยากาศในห้องเรียน
-สะอาด เรียบร้อย บรรยากาศน่าเรียน


การจัดการเรียนการสอน
-มีสื่อให้เห็นชัดเจน สอนเข้าใจง่ายและได้คิดตามอยู่ตลอดเวลาที่เรียน

วิเคราะห์ตัวเอง
-ตั้งใจทำงานและช่วยเพื่อน




บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
วันพุธที่ 3 มีนาคม พ.ศ 2559
ศึกษาดูงาน โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์

ตัวอย่างสื่อการสอน


























วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 6
วันศุกร์ ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559





เนื้อหาที่เรียน


การจัดประสบการณ์ การเรียนการสอนโดยการแก้ปัญหา โดยการตั้งปัญหาให้เด็กได้ลงมือและแก้

ปัญหาเอง โดยมีโครงสร้างดังนี้ ---->

การวิเคราะห์โจทย์  แนวคิด

ศึกษาวัสดุที่มีอยู่

ลงมือทำ

ผลงาน

การประเมินผล

อุปกรณ์

ทักษะ รมดมความคิด 
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ฐานการสอน ปละเป็นการสอนแบบบูรณาการได้ลองผิดลองถูก ได้ใช้ความคิดเกี่ยวกับศิลปะ 

และจากนั้นเพื่อนๆก็นำเสนอ บทความ วิจัย สื่อการสอนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

การประยุกต์ใช้ 
วิธีการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กนั้นเราต้องดึงสิ่งที่เด็กมีออกมา แล้วนำมาจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของเด็กให้เด็ก 

บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย

บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย

วิเคราะห์ตนเอง
จดบันทึกและเข้าใจมากยิ่งขึ้น 


บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559


เนื้อหาที่เรียน

วันนี้เรียนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เรื่องรูปทรง การจัดประสบการณ์ต้องให้เด้กได้ลงมือทำผ่าน

ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ต้องให้เด็กลองทำก่อนแล้วค่อยให้ลงกระดาษ 

การจัดประสบการณ์เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเด็ก ถ้าเป็นเด็กมีความพร้อมก็จะเห็นว่ารูปทรงที่เห็นนั้นเป็นรูปทรงเดียวกัน เป็นการเรียนการสอนแบบสืบเสาะ

การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแแปลงพฤติกรรม
พัฒนาการ หมายถึง ความสามารถของเด็กที่บ่งบอกว่าเด็กจะทำอะไรได้บ้างในระดับอายุ 
พัฒนาการ หมายถึง ความสามารถของเด็กที่บ่งบอกว่าเด็กจะทำอะไรได้บ้างในระดับอายุ 

  • การสอนแบบ Project Approach
สามารถทรอดแทรกทักษะการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น
ขั้นตอนในการสอน เป็นการเรียนรู้ ก่อน หลัง
การอธิบาย เป็นการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในสาระที่ 5 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
การจัดการแสดง เด็กได้คณิตศาสตร์ในการจัดหมวดหมู่ของการนำเสนอ จัดพื้นที่ต่างๆและจัดกลุ่มคน
การทำมายแมพและผลงานสามารถทรอดแทรกคณิตศาสตร์ให้เด็กได้ เช่น การวาดรูปทรง แบ่งกลุ่ม การทำวงกลมเปรียบเทียบความเหมือน-ต่าง

ทักษะ ระดมความคิด 

ทักษะการตอบคำถาม
ทักษะการนับจำนวน
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะเรื่องรูปทรง 
ทักษะการแก้ปัญหา

การประยุกต์ใช้ 
จัดประสบการ์ให้แก่เด็กได้โดยต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย ให้เด็กได้ลงมือทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องชีวิตประจำวัน 


บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะ เก้าอี้สะอาดเรียบร้อย อากาศกำลังดีเลย

การจัดการเรียนการสอน
อาจารย์ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ และเน้นสิ่งสำคัญที่เราต้องคำนึงในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
วิเคราะห์ตนเอง
ตอบคำถามมากขึ้น จดบันทึกเนื้อหา 





บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 4
วันศุกร์ ที่ กุมภาพันธ์ 2559


เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ได้เอาตัวอย่างปฏิทินมาให้ดู และอาจารย์ก็สอนว่าเด็กจะเกิดทักษะจากทางด้าน ตัวเลขฮินดูอารบิก การนับ สี จำนวน เป็นต้น  และวิธีการเรียนรู้ของเด็กคือการได้ลงมือทำจริง นั้นก็ได้นำเสนอของเล่นที่แต่ละกลุ่มเตรียมมาค่ะ

ทักษะ/ระดมความคิด
     ปฏิทินจะช่วยส่เสริมจำนวน การนับ สี เป็นต้น และการนำเสนอของเล่นและได้ฟังสุดบกพร่องของตัวเองและนำไปแก้ไข
ประเมิน
บรรยากาศในห้องเรียน
อากาศไม่ร้อน อุปกรณ์พร้อม 
การจัดการเรียนการสอน
อาจารย์สอนสนุกดีและเข้าใจได้ง่าย อาจารย์สอนละเอียดและไม่ซับซ้อน

วิเคราะห์ตนเอง
เข้าใและสามารถตอบคำถามได้ บางครั้งอาจมึนๆแต่ก็บอกตัวเองและระดมความคิดด้วยตัวเอง 


เรียนชดเชย
วันพุธ  ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับเด็กมาเรียนก่อนเจ็ดโมง และหลังเจ็ดโมง และให้เด็กๆเอาป้ายชื่อ
มาติดว่าตื่นตอนเวลาก่อน หรือ หลัง เจ็ดโมง 

หลักๆคือเด็กก็จะได้เกี่ยวกับ การนับ จำนวน ตัวเลขฮินดูอารบิก การเปรียบเทียบ การแบ่ง
กลุ่ม การจำแนก เวลา
และการจัดกิจกรรมนั้นต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด้กและสิ่งที่เด็กจะได้ด้วย

ทักษะ-ระดมความคิด
-การคิดและการแก้ปัญหา
-การตอบปัญหา

การประยุกต์ใช้
การจัดการเรียนการสอน เรื่องเวลา เด็กจะได้เกิดความเข้าใจและเอาไปปรับใช้ในชีวิต
ประจำวันได้
บรรยากาศในการเรียน
บรรยากาศกำลังดี อุปกรณ์พร้อม เก้าอี้ก็พร้อม
การจัดการเรียนการสอน 
ทุกๆคนมีสวนร่วมในการเรียนและช่วยกันตอบปัญหาแก้ไขปัญหา
ประเมินตนเอง
จดบันทึกฟังเวลาสอน 

บันทึกการเรียน
ครั้งที่ 3
วันศุกร์  ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2559






เนื้อหาที่เรียน

คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันของเด็กปฐมวัย สอนให้เด็เข้าใจและเห็ภาพจิง เช่นการเช็คชื่อการมาเรียน 

                        
-เรื่องการนับบอกจำนวน
-เรื่องการเรียงลำดับ
-เลขฮินดูอารบิก
-เรื่องการเพิ่มและลด

สาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
1. จำนวน  การดำเนินการ
2. การวัด
3. เรขาคณิต
4. พืชคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูล  ความน่าจพเป็น
6.ทักษะ  กระบวนการทางคณิตศาสตร์

เพื่อนๆนำเสนองานบทความ วิจัย สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 3 คน


เพลงคณิตศาสตร์

เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า   อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว   หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ  ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นหล่า หลั่น ลันลา หลั่นลา หลั่นล้า

เพลงสวัสดีคุณครู
สวัสดีคุณครูที่รัก   หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียนๆ   หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย

เพลงหนึ่งปีมีสิบสิงเดือน
หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน   อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน  
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ 

เพลงเข้าแถว
เข้าแถว เข้าแถว   อย่าล้ำแนวยืนเรียงกัน
อย่ามัวแชเชือน   เดินตามเพื่อนให้ทัน 
ระวังเดินชนกัน   เข้าแถวพลันว่องไว

เพลงจัดแถว
สองมือเราชูตรง   แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายไปข้างหน้า  แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง

เพลง ซ้าย-ขวา
ยืนให้ตัวตรงก้มหัวลงตบมือแผละ
แขนซ้ายอยู่ไหนหันตัวไปทางนั้นแหละ

เพลงขวดห้าใบ
ขวด......ใบวางอยู่บนกำแพง (ซ้ำ)
เราเอาหินปาไปให้มันกลิ่งตกลงมา
คงเหลือขวด........ใบวางอยู่บนกำแพง



ทักษะ ระดมความคิด
-การทำกิจกรรมเขียนตารางสมาชิกห้องเพื่อนเสริมความรู้การเพิ่มลดของจำนวน
-การพูดหน้าชั้นเรียน

การประยุกต์ใช้ 
     -สามารถนำไปทรอดแทรกในชีวิตประจำวัน ให้เด็กได้เรียนรู้และเห็นภาพได้อย่างจิงและเด็กจะเข้าใจและเปรียบเทียบได้อย่าง่าย

บรรยากาศในห้องเรียน
     โต๊ะเก้าอี้เพียงพอ วัสดุพร้อมในการเรียนการสอน บรรยากาศน่าเรียน

การจัดการเรียนการสอน
     มีการเตรียมการสอนอย่างดีอธิบายได้อย่างเข้าใจและเห็นภาพตาม

วิเคราะห์ตนเอง
    ตั้งใจเรียนและสนุกดี